ชื่อหน่วย โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น สัปดาห์ที่ 3-4
ชื่อเรื่อง โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น จำนวน 8 ชั่วโมง
ครูผู้สอน ณัฐพร
หอมเมือง ระดับชั้น ปวส.2
สาระสำคัญ
การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์นั้นผู้เขียนโปรแกรมต้องทราบหลักการและรูปแบบของการเขียนโปรแกรมภาษานั้นๆ
ภาษาซีก็เช่นเดียวกันรูปแบบของภาษานี้ประกอบด้วย 5 ส่วน
ได้แก่ ส่วนที่เป็นพรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ
ส่วนกำหนดค่า
ส่วนฟังก์ชั่นหลัก
การสร้างฟังก์ชั่น
และส่วนอธิบายโปรแกรม
โดยผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทราบว่าแต่ละส่วนนั้นมีรูปแบบการเขียนอย่างไร
สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
แสดงความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างโปรแกรม
โปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
ตัวแปร
การเก็บข้อมูลของตัวแปร
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น โปรแกรมอินเตอร์แรคทีฟ คำสั่งพื้นฐานการรับและการแสดงข้อมูล
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1.
เพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างการสร้างโปรแกรม
2.
เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างการสร้างโปรแกรม
ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.
เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของโปรแกรมภาษาซี
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.
อธิบายโครงสร้างการสร้างโปรแกรมได้
2.
บอกโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นได้
บอกโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นได้
3.
อธิบายการเก็บข้อมูลของตัวแปรได้
4.
บอกวิธีการประกาศค่าตัวแปรได้
5.
บอกรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้นได้
6.
อธิบายโปรแกรมอินเตอร์แรคทีฟได้
7.
บอกวิธีการใช้คำสั่งพื้นฐานการรับและการแสดงข้อมูลได้
8.
อธิบายรูปแบบคำสั่งพื้นฐานการรับและการแสดงข้อมูลได้
สาระการเรียนรู้
1. โครงสร้างของโปรแกรม
1.1 พรีโปรเซสเซอร์ไดเรกทีฟ
1.
2 ส่วนประกาศ
1.3
ส่วนฟังก์ชันหลัก
1.4
ส่วนกำหนดฟังก์ชันขึ้นใช้เอง
1.5
ส่วนอธิบายโปรแกรม
2
.โปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น
3.
ตัวแปร
4.
การเก็บข้อมูลของตัวแปร
5.
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
5.1 ฟังก์ชัน printf()
5.1 ฟังก์ชัน scanf()
6.
โปรแกรมอินเตอร์แรคทีฟ
7.
คำสั่งพื้นฐานการรับและการแสดงข้อมูล
คุณธรรมที่มุ่งเน้น
ความวิริยะอุสาหะ
กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่
3 ชั่วโมงที่ 9-12)
ขั้นนำ
1.
ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการสนทนาเรื่องข่าวทั่วไปในชีวิตประจำวัน
ขั้นกิจกรรม
2.
ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ
ขั้นวิเคราะห์
3.
ครูให้นักเรียนทำใบงานที่
3.1 ใช้เวลา 100 นาที
ขั้นสรุปและประเมินผล
4.
ครูให้นักเรียนทุกคนทำแบบประเมินผลการเรียนรู้เพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา
กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 4 ชั่วโมงที่ 13-16)
ขั้นนำ
1.
ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมาในคาบเรียนที่แล้ว
ขั้นกิจกรรม
2.
ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ
ขั้นวิเคราะห์
3.
ครูให้นักเรียนทำใบงานที่
3.2 ใช้เวลา 100 นาที
ขั้นสรุปและประเมินผล
4.
ครูให้นักเรียนทุกคนทำแบบประเมินผลการเรียนรู้เพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา
สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้
1.
คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษาซี.
ธีรวัฒน์ ประกอบผล. ซีเอ็ดยูเคชั่น,2552
2.
ฝึกการเขียนโปรแกรมจากรวมโจทย์ข้อสอบภาษาซี. ประภาพร
ช่างไม้. Dev Book, 2549.
3.
แหล่งเรียนรู้ ได้แก่
3.1
ห้องอินเตอร์เน็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
หลักฐานการเรียนรู้
1.
ใบงาน
2.
สมุดจด
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือประเมิน
1.
แบบประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมิน
1.
การประเมินภาคความรู้ ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
นักเรียนมีคุณธรรมตามที่มุ่งเน้น มีความวิริยะอุสาหะ ร้อยละ 80
ปัญหาที่พบ
นักเรียนบางคนยังสับสนรูปแบบของโครงสร้างของโปรแกรม
แนวทางการแก้ปัญหา
ครูทบทวนและอธิบายเพิ่มเติม
เกณฑ์การประเมิน
วิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซี หน่วยที่ 4
ชื่อหน่วย ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ สัปดาห์ที่ 5-6
ชื่อเรื่อง ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ จำนวน 8 ชั่วโมง
ครูผู้สอน ณัฐพร
หอมเมือง ระดับชั้น ปวส.2
สาระสำคัญ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีการประมวลผลกับข้อมูล
โดยข้อมูลจะถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ในรูปแบบของตัวแปร
การประกาศตัวแปรต่างๆจะใช้หน่วยความจำไม่เท่ากัน และมีช่วงการเก็บข้อมูลไม่เท่ากัน
ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทราบว่าข้อมูลที่ต้องการประมวลผลนั้นเป็นข้อมูลประเภทใด
และในการประมวลผลจะต้องมีการกระทำกับตัวแปรต่างๆตัวที่นำมากระทำเรียกว่าตัวดำเนินการ
สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
แสดงความรู้เกี่ยวกับประเภทข้อมูล
การประกาศตัวแปรและค่าคงที่
การตั้งชื่อตัวแปร
ตัวดำเนินการ การใช้ Compound assignment ในการยุบนิพจน์ การเปลี่ยนประเภทของข้อมูล
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1.
เพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับประเภทข้อมูล และตัวดำเนินการ
2.
เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับประเภทข้อมูล
และตัวดำเนินการ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.
เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของโปรแกรมภาษาซี
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกประเภทของข้อมูลได้
2. บอกวิธีการประกาศตัวแปรได้
3. อธิบายการกำหนดค่าคงที่ได้
4. บอกการตั้งชื่อตัวแปรได้
5. บอกชนิดของตัวดำเนินการได้
6. อธิบายวิธีการใช้ตัวดำเนินการได้
7.
บอกวิธีการยุบนิพจน์ได้
8.
อธิบายการเปลี่ยนประเภทของข้อมูลได้
สาระการเรียนรู้
1.
ประเภทของข้อมูล
1.1
ข้อมูลชนิดซิมเปิล
1.2
ข้อมูลประเภทสตริง
(String Type)
2. การประกาศตัวแปรและค่าคงที่
2.1 การประกาศตัวแปร
2.2 การประกาศค่าคงที่
3. การตั้งชื่อตัวแปร
4. ตัวดำเนินการ (Operator)
5. การใช้ Compound
Assignment ในการยุบนิพจน์
6. การเปลี่ยนประเภทของข้อมูล
คุณธรรมที่มุ่งเน้น
ความขยันหมั่นเพียรในการเรียน
กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 5 ชั่วโมงที่ 17-20)
ขั้นนำ
1.
ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการยกตัวอย่างข้อมูลข่าวสารประจำวัน
ขั้นกิจกรรม
2.
ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ
ขั้นวิเคราะห์
3.
ครูให้นักเรียนทำใบงานที่
4.1 ใช้เวลา 100 นาที
ขั้นสรุปและประเมินผล
4.
ครูให้นักเรียนทุกคนปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดเพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา
และสรุปวิธีทำลงในสมุดจด
กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 6 ชั่วโมงที่ 21-24)
ขั้นนำ
1.
ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนเครื่องมือที่เรียนมาในคาบเรียนที่แล้ว
ขั้นกิจกรรม
2.
ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ
ขั้นวิเคราะห์
3.
ครูให้นักเรียนทำใบงานที่
4.2 ใช้เวลา 100 นาที
ขั้นสรุปและประเมินผล
4.
ครูให้นักเรียนทุกคนสรุปขั้นตอนในการปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดเพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมาลงในสมุดจด
สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้
1.
คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษาซี.
ธีรวัฒน์ ประกอบผล. ซีเอ็ดยูเคชั่น,2552
2.
ฝึกการเขียนโปรแกรมจากรวมโจทย์ข้อสอบภาษาซี. ประภาพร
ช่างไม้. Dev Book, 2549.
3.
แหล่งเรียนรู้ ได้แก่
3.1 ห้องอินเตอร์เน็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
หลักฐานการเรียนรู้
1.
ไฟล์ชิ้นงาน
2.
สมุดจด
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือประเมิน
1.
แบบประเมินผลการเรียนรู้
1.
การประเมินภาคความรู้ ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
นักเรียนมีคุณธรรมตามที่มุ่งเน้น มีความขยันหมั่นเพียรในการเรียน ร้อยละ 80
ปัญหาที่พบ
นักเรียนยังไม่เข้าใจการใช้ตัวแปร
แนวทางการแก้ปัญหา
ครูอธิบายเพิ่มเติมเป็นรายบุคคล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น