วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ผลงานนักเรียน Episode 9


//LAB9 โปรแกรมมินิมาร์ท
//Nattaporn Aimsa-ard   FC01/01   Bangkok Business College
//23-07-57
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
main()
{
      char code[5],product[20];
      float price,total,discount,net,money,cash;
      int unit;
      system ("cls");
      printf("    +++++*****   Puyfaii Market  *****+++++  \n");
      printf("     +*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
      printf("          Enter Code    :");scanf("  %s",code);
      printf("          Enter Product :");scanf("  %s",product);
      printf("          Enter Price   :");scanf("  %f",&price);
      printf("          Enter Unit    :");scanf("  %d",&unit);
      total=price*unit;
      printf("     -------------------------------\n");
      printf("          Total         =%.2f Baht\n",total);
      printf("     -------------------------------\n");
      if (total<=2000)
               discount=0;
      else discount=total*0.05;
      printf("          discount      =%.2f   Baht\n",discount);
      printf("     -------------------------------\n");
      net=total+discount;
      printf("          Net           =%.2f Baht\n",net);
      printf("     -------------------------------\n");
      printf("          Enter Cash    :");scanf("%f",&cash);
      money=cash-net;
      printf("          Enter Money   =%.2f  Baht\n",money);
      printf("     -------------------------------\n");
      printf("              **** Thank You ****\n");
      printf("                 Plese com again\n");
      printf("            BY: Nattaporn Aimsa-ard \n");
      printf("     +*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
      getch();
}


วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

แผนการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ 9

วิชา             การเขียนโปรแกรมภาษาซี                            หน่วยที่                 9              
ชื่อหน่วย    ตัวแปรโครงสร้างและยูเนียน                      สัปดาห์ที่               15           
ชื่อเรื่อง        ตัวแปรโครงสร้างและยูเนียน                      จำนวน                  4              ชั่วโมง
ครูผู้สอน          ณัฐพร         หอมเมือง                               ระดับชั้น               ปวส.2      


สาระสำคัญ
                ถ้าหากต้องการประกาศตัวแปรที่เก็บข้อมูลในลักษณะเป็นกลุ่ม  โดยที่ข้อมูลในกลุ่มนั้นๆเป็นข้อมูลต่างประเภทกันจะต้องสร้างตัวแปรประเภทโครงสร้าง  ถ้าหากผู้เขียนโปรแกรมเข้าใจการทำงานและการใช้งานตัวแปรประเภทโครงสร้างนี้จะทำให้โปรแกรมที่เขียนขึ้นสามารถเก็บข้อมูลเป็นแบบเรคคอร์ดได้อีกด้วย

สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
                แสดงความรู้เกี่ยวกับการประกาศตัวแปรโครงสร้าง   อาร์เรย์ของตัวแปรโครงสร้าง  การกำหนดตัวแปรโครงสร้างซ้อนโครงสร้าง  การคืนค่าโครงสร้างจากฟังก์ชัน  ยูเนียน
                                                                                                               
จุดประสงค์การเรียนรู้
            จุดประสงค์ทั่วไป
1.     เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรโครงสร้างและยูเนียน
2.     เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับตัวแปรโครงสร้างและยูเนียนไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.     เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของโปรแกรมภาษาซี

                จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

1.     อธิบายการใช้ตัวแปรโครงสร้างและยูเนียนได้
2.     เขียนโปรแกรมด้วยตัวแปรโครงสร้างและยูเนียนได้

สาระการเรียนรู้
                1.         การประกาศตัวแปรโครงสร้าง
                2.         ตัวแปรของอาร์เรย์โครงสร้าง                              
                3.        การกำหนดตัวแปรโครงสร้างซ้อนโครงสร้าง
                4.        การคืนค่าโครงสร้างจากฟังก์ชัน
                5.        ยูเนียน
                               
คุณธรรมที่มุ่งเน้น
มีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์                 

กิจกรรมการเรียนรู้(สัปดาห์ที่ 15 ชั่วโมงที่   57-60)
                ขั้นนำ   
1.        ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการฝึกทักษะในการเขียนโปรแกรม          
                ขั้นกิจกรรม         
2.        ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ        
                ขั้นวิเคราะห์        
3.        ครูให้นักเรียนทำใบงานที่   9.1  ใช้เวลา 100  นาที
            ขั้นสรุปและประเมินผล       
4.             ครูให้นักเรียนทุกคนเขียนโปรแกรมตามใบงานที่กำหนดเพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา และสรุปวิธีทำลงในสมุดจด 
                    
สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้
1.             คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษาซี. ธีรวัฒน์  ประกอบผล. ซีเอ็ดยูเคชั่น,2552
2.             ฝึกการเขียนโปรแกรมจากรวมโจทย์ข้อสอบภาษาซี. ประภาพร   ช่างไม้. Dev Book, 2549.
3.             แหล่งเรียนรู้  ได้แก่
1.1        ห้องอินเตอร์เน็ต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
หลักฐานการเรียนรู้
1.             ไฟล์งาน
2.             สมุดจด

การวัดและประเมินผล
              เครื่องมือประเมิน
1.             แบบประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมิน
1.             การประเมินภาคความรู้     ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  80
                                                                                               
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้                                                                           
            ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
         นักเรียนมีคุณธรรมตามที่มุ่งเน้นมีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์  ร้อยละ 80
           ปัญหาที่พบ
                         นักเรียนบางคนไม่เข้าใจใบงาน
            แนวทางการแก้ปัญหา
                         ครูอธิบายเพิ่มเติมเป็นรายบุคคลพร้อมสาธิตในนักเรียนดู

แผนการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ 10-11

วิชา                         การเขียนโปรแกรมภาษาซี                หน่วยที่                 10         
ชื่อหน่วย               พอยน์เตอร์ในภาษาซี                         สัปดาห์ที่               16       
ชื่อเรื่อง                  พอยน์เตอร์ในภาษาซี                         จำนวน                  4             ชั่วโมง

ครูผู้สอน               ณัฐพร         หอมเมือง                          ระดับชั้น               ปวส.2      

สาระสำคัญ
                ในการประกาศตัวแปรสำหรับเก็บข้อมูล ตัวแปรแต่ละตัวจะมีพื้นที่หน่วยความจำประจำตัวอยู่ ซึ่งสามารถเข้าถึงได้โดยตรงด้วยดารใช้ตัวแปรแบบพอยน์เตอร์ชี้ไปที่ตำแน่งหน่วยความจำนั้นการใช้พอยน์เตอร์จะใช้กับการเขียนอ่านข้อมูลเป็นจำนวนมาก อาร์เรย์ขนาดใหญ่ หรือการทำงานกับไฟล์  ซึ่งจะมีความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูลที่อยู่ติดๆกันได้รวดเร็วกว่าการใช้ตัวแปร  และการใช้ตัวแปรพอยต์เตอร์โดยส่วนใหญ่จะใช้กับไฟล์

สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
                แสดงความรู้เกี่ยวกับการประกาศตัวแปรพอยน์เตอร์  การกำหนดค่าให้พอยน์เตอร์  พอยน์เตอร์กับอาร์เรย์
                                                                                                               
จุดประสงค์การเรียนรู้
            จุดประสงค์ทั่วไป
1.     เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจพอยน์เตอร์ในภาษาซี
2.     เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการพอยน์เตอร์ในภาษาซีไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.     เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของโปรแกรมภาษาซี

                จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.     อธิบายการใช้ตัวแปรพอยน์เตอร์ได้
1.     เขียนโปรแกรมด้วยตัวแปรพอยน์เตอร์ได้

สาระการเรียนรู้
                1.         การประกาศตัวแปรพอยน์เตอร์
                2.         การกำหนดค่าให้พอยน์เตอร์                               
                3.        พอยน์เตอร์กับอาร์เรย์
                               
คุณธรรมที่มุ่งเน้น
มีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์                 

กิจกรรมการเรียนรู้(สัปดาห์ที่ 16 ชั่วโมงที่   61-64)
                ขั้นนำ   
1.        ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการฝึกทักษะในการเขียนโปรแกรม          
                ขั้นกิจกรรม         
2.        ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ        
                ขั้นวิเคราะห์        
3.        ครูให้นักเรียนทำใบงานที่   10.1  ใช้เวลา 100  นาที
            ขั้นสรุปและประเมินผล       
4.             ครูให้นักเรียนทุกคนเขียนโปรแกรมตามใบงานที่กำหนดเพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา และสรุปวิธีทำลงในสมุดจด 
                    
สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้
1.             คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษาซี. ธีรวัฒน์  ประกอบผล. ซีเอ็ดยูเคชั่น,2552
2.             ฝึกการเขียนโปรแกรมจากรวมโจทย์ข้อสอบภาษาซี. ประภาพร   ช่างไม้. Dev Book, 2549.
3.             แหล่งเรียนรู้  ได้แก่
1.1        ห้องอินเตอร์เน็ต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

 หลักฐานการเรียนรู้
1.             ไฟล์งาน
2.             สมุดจด

การวัดและประเมินผล
              เครื่องมือประเมิน
1.             แบบประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมิน
1.             การประเมินภาคความรู้     ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  80
                                                                                               
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้                                                                           
            ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
         นักเรียนมีคุณธรรมตามที่มุ่งเน้นมีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์  ร้อยละ 80
           ปัญหาที่พบ
                         นักเรียนบางคนไม่เข้าใจใบงาน
            แนวทางการแก้ปัญหา
                         ครูอธิบายเพิ่มเติมเป็นรายบุคคลพร้อมสาธิตในนักเรียนดู

วิชา                   การเขียนโปรแกรมภาษาซี             หน่วยที่                 11         
ชื่อหน่วย               การจัดการไฟล์                            สัปดาห์ที่               17        
ชื่อเรื่อง                  การจัดการไฟล์                            จำนวน                     4          ชั่วโมง
ครูผู้สอน               ณัฐพร         หอมเมือง                ระดับชั้น               ปวส.2        

สาระสำคัญ
                ในงานประเภทจะต้องนำผลการทำงานของโปรแกรมเก็บลงในหน่วยความจำสำรองลักษณะของข้อมูลที่เก็บในหน่วยความจำสำรองนี้จะเก็บเป็นไฟล์ ซึ่งไฟล์ในภาษาซีมีอยู่หลายประเภทแต่ละประเภทมีคำสั่งในการอ่านเขียนไฟล์ต่างกัน ดังนั้นถ้าหากต้องการเขียนข้อมูลเป็นไฟล์จะต้องทำความเข้าใจฟังก์ชันที่กระทำกับไฟล์ด้วย

สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
                แสดงความรู้เกี่ยวกับประเภทของไฟล์ พื้นฐานการทำงานกับไฟล์  การอ่านและการเขียนเท็กซ์ไฟล์ การอ่านและการเขียนไบนารีไฟล์  การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม   
                                                                                                               
จุดประสงค์การเรียนรู้
            จุดประสงค์ทั่วไป
1.     เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการไฟล์
2.     เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการจัดการไฟล์ในภาษาซีไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.     เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของโปรแกรมภาษาซี

                จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.     อธิบายประเภทของไฟล์ได้
2.     บอกพื้นฐานการทำงานเกี่ยวกับไฟล์ได้
3.     เขียนโปรแกรมจัดการกับไฟล์ได้

สาระการเรียนรู้
1.             ประเภทของไฟล์
1.             เท็กซ์ไฟล์
2.             ไบนารีไฟล์
2.            พื้นฐานการทำงานกับไฟล์
    2.1      การเปิดไฟล์
    2.2      การปิดไฟล์
    2.3      การดำเนินการกับไฟล์                          
                3.        การอ่านและการเขียนเท็กซ์ไฟล์
                4.        การอ่านและการเขียนไบนารีไฟล์
                            4.1  ฟังก์ชัน fread()  และ fwrite()
                5.        การเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่ม
               
                           
คุณธรรมที่มุ่งเน้น
มีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์
                               

กิจกรรมการเรียนรู้(สัปดาห์ที่ 17 ชั่วโมงที่   65-68)
                ขั้นนำ   
1.        ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับค่าตอบแทนอาชีพด้านเทคโนโลยีในปัจจุบัน         
                ขั้นกิจกรรม         
2.        ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ        
                ขั้นวิเคราะห์        
3.        ครูให้นักเรียนทำใบงานที่   11.1  ใช้เวลา 100  นาที
            ขั้นสรุปและประเมินผล       
4.             ครูให้นักเรียนทุกคนเขียนโปรแกรมตามใบงานที่กำหนดเพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา และสรุปวิธีทำลงในสมุดจด 
                    
สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้
1.             คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษาซี. ธีรวัฒน์  ประกอบผล. ซีเอ็ดยูเคชั่น,2552
2.             ฝึกการเขียนโปรแกรมจากรวมโจทย์ข้อสอบภาษาซี. ประภาพร   ช่างไม้. Dev Book, 2549.
3.             แหล่งเรียนรู้  ได้แก่
1.1        ห้องอินเตอร์เน็ต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย

หลักฐานการเรียนรู้
1.             ไฟล์งาน
2.             สมุดจด

การวัดและประเมินผล
              เครื่องมือประเมิน
1.             แบบประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมิน
1.             การประเมินภาคความรู้     ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  80
                                                                                               
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้                                                                           
            ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
         นักเรียนมีคุณธรรมตามที่มุ่งเน้นมีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์  ร้อยละ 80
           ปัญหาที่พบ
                         นักเรียนบางคนไม่เข้าใจฟังก์ชันเกี่ยวกับไฟล์บางฟังก์ชัน
            แนวทางการแก้ปัญหา
                         ครูอธิบายเพิ่มเติมเป็นรายบุคคลพร้อมสาธิตวิธีการใช้ให้นักเรียนชม