วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2557
ผลงานนักเรียน Episode 10
/*Program LAB10 โปรแกรมตัดเกรด */
//By Nattaporn Aimsa-ard FC01/01
// Date 6 August 2014
#include <stdio.h>
#include <conio.h>
main()
{
int jitpisai,midterm,final;
int score;
char st_name[20];
char code [5];
float grade;
printf("+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
printf(" Input code:");gets(code);
printf(" Input name:");gets(st_name);
printf("+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
printf(" Input jitpisai:");scanf(" %d",&jitpisai);
printf(" Input midterm :");scanf(" %d",&midterm);
printf(" Input final :");scanf(" %d",&final);
score=jitpisai+midterm+final;
printf(" Total score = %d\n",score);
if(score>=80)
grade=4;
else if (score>=75)
grade=3.5;
else if (score>=70)
grade=3;
else if (score>=65)
grade=2.5;
else if (score>=60)
grade=2;
else if (score>=55)
grade=1.5;
else grade =0;
printf("----------------------------------------------------------------\n");
printf(" code name jitpisai midterm final total grade\n");
printf(" %s %s %d %d %d %d %.1f\n",code,st_name,jitpisai,midterm,final,score,grade);
printf("----------------------------------------------------------------\n");
getch();
}
//By Nattaporn Aimsa-ard FC01/01
// Date 6 August 2014
#include <stdio.h>
#include <conio.h>
main()
{
int jitpisai,midterm,final;
int score;
char st_name[20];
char code [5];
float grade;
printf("+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
printf(" Input code:");gets(code);
printf(" Input name:");gets(st_name);
printf("+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
printf(" Input jitpisai:");scanf(" %d",&jitpisai);
printf(" Input midterm :");scanf(" %d",&midterm);
printf(" Input final :");scanf(" %d",&final);
score=jitpisai+midterm+final;
printf(" Total score = %d\n",score);
if(score>=80)
grade=4;
else if (score>=75)
grade=3.5;
else if (score>=70)
grade=3;
else if (score>=65)
grade=2.5;
else if (score>=60)
grade=2;
else if (score>=55)
grade=1.5;
else grade =0;
printf("----------------------------------------------------------------\n");
printf(" code name jitpisai midterm final total grade\n");
printf(" %s %s %d %d %d %d %.1f\n",code,st_name,jitpisai,midterm,final,score,grade);
printf("----------------------------------------------------------------\n");
getch();
}
วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ผลงานนักเรียน Episode 9
//Nattaporn Aimsa-ard
FC01/01 Bangkok Business College
//23-07-57
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
main()
{
char code[5],product[20];
float
price,total,discount,net,money,cash;
int unit;
system ("cls");
printf(" +++++*****
Puyfaii Market *****+++++ \n");
printf("
+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
printf(" Enter Code :");scanf(" %s",code);
printf(" Enter Product
:");scanf(" %s",product);
printf(" Enter Price :");scanf(" %f",&price);
printf(" Enter Unit :");scanf(" %d",&unit);
total=price*unit;
printf(" -------------------------------\n");
printf(" Total =%.2f Baht\n",total);
printf(" -------------------------------\n");
if (total<=2000)
discount=0;
else discount=total*0.05;
printf(" discount =%.2f
Baht\n",discount);
printf(" -------------------------------\n");
net=total+discount;
printf(" Net =%.2f Baht\n",net);
printf(" -------------------------------\n");
printf(" Enter Cash :");scanf("%f",&cash);
money=cash-net;
printf(" Enter Money =%.2f
Baht\n",money);
printf(" -------------------------------\n");
printf(" **** Thank You ****\n");
printf(" Plese com again\n");
printf(" BY: Nattaporn Aimsa-ard \n");
printf(" +*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
printf(" +*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+*+\n");
getch();
}วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
แผนการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ 9
ชื่อหน่วย ตัวแปรโครงสร้างและยูเนียน สัปดาห์ที่ 15
ชื่อเรื่อง ตัวแปรโครงสร้างและยูเนียน จำนวน 4 ชั่วโมง
ครูผู้สอน ณัฐพร
หอมเมือง ระดับชั้น ปวส.2
สาระสำคัญ
ถ้าหากต้องการประกาศตัวแปรที่เก็บข้อมูลในลักษณะเป็นกลุ่ม
โดยที่ข้อมูลในกลุ่มนั้นๆเป็นข้อมูลต่างประเภทกันจะต้องสร้างตัวแปรประเภทโครงสร้าง ถ้าหากผู้เขียนโปรแกรมเข้าใจการทำงานและการใช้งานตัวแปรประเภทโครงสร้างนี้จะทำให้โปรแกรมที่เขียนขึ้นสามารถเก็บข้อมูลเป็นแบบเรคคอร์ดได้อีกด้วย
สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
แสดงความรู้เกี่ยวกับการประกาศตัวแปรโครงสร้าง อาร์เรย์ของตัวแปรโครงสร้าง การกำหนดตัวแปรโครงสร้างซ้อนโครงสร้าง การคืนค่าโครงสร้างจากฟังก์ชัน ยูเนียน
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป
1.
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรโครงสร้างและยูเนียน
2.
เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับตัวแปรโครงสร้างและยูเนียนไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3.
เพื่อให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของโปรแกรมภาษาซี
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายการใช้ตัวแปรโครงสร้างและยูเนียนได้
2.
เขียนโปรแกรมด้วยตัวแปรโครงสร้างและยูเนียนได้
สาระการเรียนรู้
1. การประกาศตัวแปรโครงสร้าง
2. ตัวแปรของอาร์เรย์โครงสร้าง
3. การกำหนดตัวแปรโครงสร้างซ้อนโครงสร้าง
4. การคืนค่าโครงสร้างจากฟังก์ชัน
5. ยูเนียน
คุณธรรมที่มุ่งเน้น
มีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์
กิจกรรมการเรียนรู้(สัปดาห์ที่
15 ชั่วโมงที่ 57-60)
ขั้นนำ
1.
ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการฝึกทักษะในการเขียนโปรแกรม
ขั้นกิจกรรม
2.
ครูอธิบายเนื้อหาให้นักเรียนทราบ
ขั้นวิเคราะห์
3.
ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 9.1 ใช้เวลา 100 นาที
ขั้นสรุปและประเมินผล
4.
ครูให้นักเรียนทุกคนเขียนโปรแกรมตามใบงานที่กำหนดเพื่อทบทวนความรู้ที่ได้เรียนมา
และสรุปวิธีทำลงในสมุดจด
สื่อการเรียนการสอนและแหล่งการเรียนรู้
1.
คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษาซี.
ธีรวัฒน์ ประกอบผล. ซีเอ็ดยูเคชั่น,2552
2.
ฝึกการเขียนโปรแกรมจากรวมโจทย์ข้อสอบภาษาซี. ประภาพร
ช่างไม้. Dev Book, 2549.
3.
แหล่งเรียนรู้ ได้แก่
1.1
ห้องอินเตอร์เน็ต
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
หลักฐานการเรียนรู้
1.
ไฟล์งาน
2.
สมุดจด
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือประเมิน
1.
แบบประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมิน
1.
การประเมินภาคความรู้ ต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
นักเรียนมีคุณธรรมตามที่มุ่งเน้นมีค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์
ร้อยละ 80
ปัญหาที่พบ
นักเรียนบางคนไม่เข้าใจใบงาน
แนวทางการแก้ปัญหา
ครูอธิบายเพิ่มเติมเป็นรายบุคคลพร้อมสาธิตในนักเรียนดู
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)